หน้าหลัก
  บุคลากร
  หลักสูตร
  เครื่องมือวิเคราะห์
  ข่าวประชาสัมพันธ์
  ดาวน์โหลด
  งานวิจัย
  ภาพกิจกรรม
  เคมีเวบบอร์ด
 
 
  คณะวิทยาศาสตร์
  สำนักงานเลขาฯ
  สาขาวิชาวัสดุศาสตร์
  สาขาวิชาชีววิทยา
สาขาวิชาคณิตศาสตร์
สาขาวิชาสถิติ
สาขาวิชาเทคโนฯ สารฯ
สาขาวิชาวิทย์ฯ คอมพ์ฯ
 
 
 
 
:: Last update ::
June 6, 2016
 


ความละเอียดหน้าจอที่เหมาะสมในการชมเวบไซต์ คือ 1280 x 800

 
  พนักงานมหาวิทยาลัย
ชื่อ - นามสกุล :: อ.ดร.สายรุ้ง เมืองพิล
  Name :: Dr.Sairoong Muangpil
  ตำแหน่ง :: อาจารย์ (พนักงานมหาวิทยาลัย)
  วุฒิการศึกษา ::
1. วท.บ. (เคมี) - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2. วท.ม. (เคมีเชิงฟิสิกส์) - มหาวิทยาลัยมหิดล
3. Ph.D. (Chemistry), University of Bristol, United Kingdom
  สาขาที่สอน :: เคมีเชิงฟิสิกส์, เคมีโพลีเมอร์
  โทรศัพท์ :: (053)873530
  E -Mail :: smuangpil@hotmail.com
   
  ดาวน์โหลดรายวิชาที่สอน ::
 
  ภาคการศึกษาที่ 2/58
คม103 คม103 Thermodynamics_for student-58-2 (12 ม.ค. 59)
  คม103 Nuclear chemistry_for student-58-2 (12 ม.ค. 59)
   
 
ถาม: ทำไมอนุภาคนิวตรอนถึงมีอำนาจทะลุทะลวงสูงครับ
ตอบ: เพราะอนุภาคนิวตรอนไม่มีประจุ เมื่อมันเคลื่อนที่ผ่านอะตอมใดๆ จะไม่ถูกดูดหรือผลักโดยอนุภาคต่างๆ (อิเล็กตรอน, โปรตอน, นิวตรอน) ภายในอะตอม อนุภาคนิวตรอนเคลื่อนที่ผ่านไปได้ง่าย จึงมีอำนาจทะลุทะลวงสูง
   
คม441 บทที่ 1 (12 ม.ค. 59)
  บทที่ 2 (12 ม.ค. 59)
  บทที่ 3 (12 ม.ค. 59)
  บทที่ 9 (12 ม.ค. 59)
  บทที่ 10 (12 ม.ค. 59)
   
 
ถาม: ในการหาน้ำหนักโมเลกุลของพอลิเมอร์ด้วยเทคนิค GPC ทำไมโมเลกุลที่มีขนาดใหญ่จึงออกมาจากคอลัมน์ก่อนคะ ทั้งๆ ที่มันใหญ่ เคลื่อนที่ยากกว่าโมเลกุลที่มีขนาดเล็ก

ตอบ: เทคนิค Gel Permeation Chromatography (GPC) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Size Exclusion Chromatography (SEC) ซึ่งอาศัยการวิเคราะห์น้ำหนักโมเลกุลเฉลี่ยของพอลิเมอร์โดยใช้ขนาดของโมเลกุลเป็นหลัก พอลิเมอร์ที่มีเลกุลที่มีขนาดใหญ่ เคลื่อนที่ยากกว่าโมเลกุลที่มีขนาดเล็กก็จริง แต่เนื่องจากภายในคอลัมน์มีเฟสอยู่นิ่ง (stationary phase) ที่มีรูพรุนขนาดเล็ก ทำให้พอลิเมอร์โมเลกุลเล็กเคลื่อนที่เข้าไปและถูกกักอยู่ภายในรูพรุน ต้องใช้เวลานานกว่าและใช้ตัวชะ (eluent) ปริมาณมากกว่าพอลิเมอร์โมเลกุลใหญ่ ดังนั้นพอลิเมอร์โมเลกุลใหญ่จึงถูกชะออกมาก่อน
   
  รางวัลที่ได้รับ ::
  -
  งานวิจัยที่สนใจ ::
  - Polymer composites
 
   
  งานวิจัยที่กำลังดำเนินการ ::
  -
  ทุนวิจัยที่ได้รับ ::
  -
 

ผลงานการตีพิมพ์ :: จากฐานข้อมูลของ www.isiknowledge.com

  =International journal=
 
  1. Atichart Silawanich, Sairoong Muangpil, Nawee Kungwan, Puttinan Meepowpan, Winita Punyodom, Narin Lawan. Theoretical study of efficiency comparison of Ti (IV) alkoxides as initiators for ring-opening polymerization of e-caprolactone. Computational and Theoretical Chemistry 1090 (2016) 17–22. Impact factor 1.368
  2. Terence Cosgrove, Steven Swier, Randall G. Schmidt, Sairoong Muangpil, Youssef Espidel, Peter C. Griffiths and Stuart W. Prescott Impact of End-Tethered Polyhedral Nanoparticles on the Mobility of Poly(dimethylsiloxane). Langmuir 2015, 31, 8469−8477. impact factor 4.457.
  3. Narin Lawan, Sairoong Muangpil, Nawee Kungwan, Puttinan Meepowpan, Vannajan Sanghiran Lee, Winita Punyodom. Tin (IV) alkoxide initiator design for poly (d-lactide) synthesis using DFT calculations. Computational and Theoretical Chemistry, 2013, Vol. 1020, Pages 121-126.
  -
  =Local journal=
  -
 
สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
63 หมู่ 4 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50290
Tel. +66-53-873530-1, Fax+66-53-873548
ติดต่อเพื่อส่งข่าวที่ tanin@mju.ac.th